ส่องประวัติ เทควันโด

songkhao - เทควันโด - 1

หลาย ๆ คนนั้น ต่างก็พากัน รู้จักกับ กีฬา เทควันโด กันมาบ้างแล้ว ไม่มากก็น้อย แต่วันนี้ ทาง Song Khao ส่องข่าว นั้นจะขอพาทุก ๆ ท่านนั้น ไปรู้จักกับ กีฬา เทควันโด ให้มากยิ่งขึ้นกว่าเดิมว่า กีฬา ชนิดนี้นั้น มีความเป็นมาอย่างไร หากท่านนั้นพร้อมแล้ว ไปอ่านกันได้เลย

ประวัติ เทควันโด

กีฬา ประเภทนี้ เป็นศิลปะการป้องกันตัว ของประเทศเกาหลีมาตั้งแต่ 2 พันกว่าปี ในปี ค.ศ. 1955 องค์กรพิเศษ ได้ถูกจัดตั้งขึ้น ในนามขององค์การควบคุม ศิลปะแห่งชาติ ถูกตั้งขึ้นเพื่อเผยแพร่ และทำการควบคุมทำการเรียน การสอนให้แก่ สาธารณชน องค์กรทางการทหาร ซึ่งขึ้นอยู่กับเงินกองทุน กองกลางที่มี สมาชิก ขององค์กร เป็นผู้ที่มีความสามารถ ในการคิด ที่เชี่ยวชาญ โดยกลุ่มสมาชิกได้ทำการรวมตัวกัน โดยมีนายพล Choi Hong Hi ได้ทำการตั้งชื่อใหม่ ขึ้นมาว่า เทควันโด Tekwondo และต่อมานั้นทุกวันนี้ ได้มีผู้คนจำนวนกว่า 30 ล้านคน จากทั่วโลก จาก 140 เมืองได้รับการฝึกฝนกับ กีฬา ชนิดนี้

ตำนานในเรื่อง ความเป็นมาของ ศิลปะการต่อสู้ ทุก ๆ ชนิดบนโลกใบนี้นั้น ย่อมสืบเนื่องมาจาก พื้นฐานเบื้องต้นในเรื่องของการ เอาตัวรอด เป็นทุนเดิม ไม่ว่าจะเป็นทั้งในเรื่อง ของการหาอาหาร การต่อสู้กับสัตว์ป่าที่ดุร้าย การแสดงตน การโชว์พลังว่าตนเองนั้นเก่งกาจ สามารถขึ้นเป็นผู้นำของกลุ่มนั้น ๆ ได้ และก็ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมา อย่างยาวนาน จนได้กลายไปเป็นเอกลักษณ์ ประจำเผ่าพันธุ์ และความถนัดส่วนใหญ่ มักจะขึ้นอยู่กับรูปร่างของคน ๆ นั้น พื้นฐานของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวัน ภูมิประเทศ ดินฟ้า และ อากาศ จนกลายมาเป็น การต่อสู้ ด้วยมือเปล่า ก็ได้มีการพัฒนาศิลปะการต่อ สู้สืบทอดกันมาเป็นเวลายาวนาน นับกว่า 1000 ปี และได้พัฒนาปรับเปลี่ยนการต่อ สู้อย่างหลากหลายรูปแบบ จากการต่อสู้ แบบยุคโบราณดั้งเดิม จนกลายมาเป็น กีฬา ที่เรานั้นคุ้นเคยในที่สุด และได้มีการเรียกว่า เทควันโด ในครั้งแรก ในปีประมาณ 1950 แต่ได้มีการบันทึกว่าใช้ อย่างเป็นทางการในปี 1965 ในการก่อตั้ง สมาคมของ กีฬา ชนิดนี้ในเกาหลี หลังจากที่เกาหลีนั้น ได้มีการเผยแพร่ กีฬา ชนิดนี้จนกลายเป็นที่ยอมรับ จากคนทั่วโลก จนได้รับให้บรรจุ เป็นกีฬา ที่ถูกบรรจุลงใน โอลิมปิกเกมในปี 2000 ที่ได้มีการแข่งขันกัน ในประเทศ ออสเตรเลีย โดยมีองค์กรที่รับผิดชอบ คือ สหพันธ์กีฬาชนิดนี้โดยตรง และกีฬาชนิดนี้นั้นจึงได้ถือว่า เป็นกีฬาสากล อย่างเต็มรูปแบบ แต่ในแก่นแท้แล้วนั้น ชาวเกาหลี ก็ยังคงภูมิใจ ว่าเป็นศิลปะการต่อสู้ และตั้งใจ พยามยามรักษาคงไว้ให้เป็นศาสตร์ การต่อสู้ แขนงหนึ่ง ให้ได้นาน และเป็นที่จดจำให้นานที่สุด โดยได้ทำการ จัดการสอบ เพื่อเลื่อนขั้นสายคาดเอว เป็นรูปแบบการควบคุมที่เป็นมาตรฐาน โดยจะมีสถาบัน กุกิวอน เป็นผู้ที่รับหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องนี้

Tekwondo ยุคกลาง

ในสมัยราชวงศ์ คอร์โย ซึ่งปกครอง ประเทศเกาหลี ต่อจากราชวงศ์ซิลล่า ในระหว่างปี ค.ศ.918 – 1392 มีการพัฒนารูปแบบการฝึกเทคเคียนและซูบักอย่างเป็นระบบ และใช้ในการทดสอบเพื่อคัดเลือกทหารเข้าประจำการด้วย มีการบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่แสดงว่า วิชาการต่อสู้ด้วยมือเปล่านี้ ได้พัฒนาถึงขั้นใช้อาวุธ ฆ่าคนในสงครามได้จริง ทักษะความสามารถ ในการต่อสู้ได้กลาย เป็นสิ่งสำคัญในการเลื่อนยศ และตำแหน่งของทหาร จึงเป็นที่มาของการจัดระบบแบ่งสายในเทควันโด คล้ายกับชั้นยศทหารในกองทัพ  ผู้เรียบเรียง  มีการบันทึกถึงระบบกติกาการต่อสู้แข่งขันคล้ายกับกีฬาในปัจจุบัน ในการทดสอบพละกำลัง

songkhao - เทควันโด - 2

Tekwondo ยุคใหม่

และในภายหลังนั้น ได้ถูก รื้อฟื้นศิลปะการต่อสู้ ขึ้นมาขนานใหญ่ มีการจัดทำตำรามาตรฐาน วิชาการต่อสู้เรียกว่า มูเยโดโบ ทองจิ ซึ่งในเล่มที่ 4 มีภาพประกอบ และได้อธิบายถึง การเคลื่อนไหวของมนุษย์  ต่อเนื่องซึ่งมีลักษณะ คล้ายท่ารำพุมเซ่ ในปัจจุบัน มีการสอนวิชาการต่อสู้ให้กับเยาวชนรุ่นหลัง คล้ายกับ นักกีฬา หรือการละเล่นชนิดหนึ่งของประเทศเหาหลี เมื่อญี่ปุ่นเข้ายึดครองประเทศเกาหลี การฝึกวิชาการต่อสู้กลายเป็นสิ่งที่ต้องห้ามทำโดยเด็ดขาด จึงต้องแอบฝึกและมาการถ่ายทอดกันมาอย่างลับๆ เฉพาะในหมู่ลูกหลานเท่านั้น อ่านต่อได้ที่ Song Khao ส่องข่าว

Tekwondo ยุคปัจจุบัน

ภายหลังจาก ที่ได้รับอิสรภาพ จากประเทศญี่ปุ่น ได้มีความพยายามกระตือรือร้น ที่จะฟื้นฟูศิลปะการต่อสู้ชนิดนี้ ของเกาหลีขึ้นมาใหม่ ปรมาจารย์ ซองดุคคิ ได้แสดงวิชาเทคเคียน ให้ประธานาธิบดี ลีซึงมาน ชมในงานฉลองวันเกิด ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดว่ามีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากคาราเต้ของ ญี่ปุ่น เป็นอย่างมาก ในระหว่างช่วงเวลาดังกล่าวได้มีการก่อตั้งสำนัก(โดจัง) ขึ้นหลายแห่งแต่ก็อยู่ได้อย่างไม่มั่นคง อ่านต่อได้ที่ Song Khao ส่องข่าว

ไม่พลาดทุก ข่าวกีฬา ที่ท่านนั้นสนใจ และ ชื่นชอบ ท่านนั้นสามารถเข้ามา อ่าน ข่าว ต่าง ๆ ได้เลยที่ เว็บ Song Khao ส่อง ได้เลย ฟรี คลิก

songkhao - เทควันโด - 3

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *